Prefix

การใช้ Prefix

Prefix แปลว่า อุปสรรค ได้แก่ คำที่ใช้เติมหน้าคำอื่น เพื่อให้ความหมายคำนั้นเปลี่ยนไป แต่ไม่เปลี่ยนชนิดของคำนั้น ตัวอย่างเช่น polite เป็นคำคุณศัพท์ เติมอุปสรรค im ลงไปเป็น impolite ก็ยังคงเป็นคำคุณศัพท์อยู่ตามเดิม (แต่ความหมายเปลี่ยนไปตรงกันข้าม) ยกเว้นอุปสรรค en ,em เท่านั้นที่ทำให้คำนั้นกลายเป็นกริยา คือ เปลี่ยนชนิดไป

Prefix แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามลักษณะของคำที่ใช้นำหน้าคือ ;
1. ชนิดที่เติมข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้ามได้แก่ un- , dis-, in-, im-, non-, etc. เป็นต้น
2. ชนิดที่เติ่มข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นเป็นกริยาขึ้นทาได้แก่ en-, em-
3. ชนิดที่เตมลงไปข้างหน้าแล้ว มีความหมายแตกต่างกัน ซึ่งผู้ศึกษาต้องจดจำเป็นตัวๆไป ได้แก่ co-, re-,supper-,etc. เป็นต้น

1.1 prefix (อุปสรรค) ที่เติมหน้าคำใด แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม หรือ มีความหมายเป็นปฎิเสธ (negative prefit) ได้แก่
un-,dis-,in- (ร่วมทั้ง im-,il-,ir-)
non-,mis-, เป็นต้น
ซึ่งแต่ละตัวใช้เติมหน้าคำได้ดังต่อไปนี้


Un- (ไม่) โดยปกติใช้เติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เช่น ;,



Dis- (ไม่) ใช้เติมข้างหน้ากริยา (Verb) บ้าง , หน้าคำนาม (none) บ้าง, หน้าคุณศัพท์ (adjective) บ้าง เช่น;


In-, (im-, il-, ir ) (ไม่) ใช้เติมข้างหน้าคำคุณศัพท์เท่านั้น แต่จะใช้อุปสรรคตัวไหนเติม มีหลักเกณฑ์ดังนี้ ;
= ใช้ im- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นด้วยพยัญชนะ b, m, p เช่น ;-


= ใช้ il- เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ 1 เช่น ;-




= ใช้ ir เติม เมื่อคุณศัพท์ตัวนั้นขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ r เช่น;



ใช้ in- เติม เมื่อคุณศัพท์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะนอกจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น ;-




Non- (ไม่) อุปสรรคคำนี้มักจะใช้เป็นคำศัพท์ทางวิชาการ ( technical Word) เสียมากกว่า ใช้เติมหน้าคำนามบ้าง คุณศัพท์บ้าง เช่น ;-


หมายเหตุ ; แต่เดิมอุปสรรค non- เมื่อใช้เติมหน้าคำมักใช้ hyphen มาคั่น เช่น; partisan non-partisan (ถือพรรคพวก-ไม่ถือพรรคพวก) แต่ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ hyphen มาขั้นแล้ว


Mis(มิส) อุปสรรคตัวนี้ไม่ทำให้ความหมายตรงกันข้ามเหมือนตัวอื่น แต่ใช้ในความหมายว่า “ผิด, ไม่ถูกต้อง” ใช้เติมข้างหน้ากริยาเท่านั้น เช่น;-


2.2 Prefix ที่เติมหน้าคำใดๆ แล้วทำให้คำนั้นๆกลายเป็นกริยาขึ้นมาได้แก่ en หรือ em ซึ่งมีหลักการเติมดังนี้
En (ทำให้เป็นเช่นนั้น,ทำให้กลายเป็น) ใช้เติมข้างหน้าคำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะทั่วไป เช่น;


3.3 Prefix ที่ใช้เติมข้างหน้าคำอื่น แล้วทำให้คำนั้นมีความหมายแตกต่างกันออกไปเป็นตัวๆได้แก่ prefix ต่อไปนี้ :-

Ante- (แอนทิ) มีความหมายเท่ากับ “ก่อน,แรก,ก่อนถึง” เช่น






Over- (โอเวอร์) มีความหมายเท่ากับ “มากเกินไป” ใช้เติมหน้าคำกริยาเท่านั้น เช่น:-

0 Comments:

Post a Comment